
E-Profile

นายสัณฐิติ บินคาเดอร์
ข้อมูลสังกัด
- ตำแหน่ง : อาจารย์
- สังกัด : เทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร / สาขาวิชาพืชศาสตร์ /
- ศูนย์พื้นที่ : หันตรา
ข้อมูลติดต่อ
Email องค์กร : sanitti.b@rmutsb.ac.th
Email ส่วนตัว : stb.ppath@gmail.com
เบอร์โทรศัพท์ : -
ข้อมูลอื่นๆ
ประวัติการศึกษา:
-
2565: Doctor of Philosophy (Plant Pathology); Kasetsart University.
-
2559: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (โรคพืช); มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
-
2557: วิทยาศาสตร์บัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 2 (เกษตรศาสตร์); มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ประวัติการทำงาน:
-
นักวิจัยประจำห้องปฏิบัติการราวิทยา ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
-
พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2565
-
-
อาจารย์ประจำสาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
-
พ.ศ. 2565 - ปัจจุบัน
-
ประสบการณ์การปฏิบัติงาน:
กลุ่ม Cluster ความเชี่ยวชาญ
ลำดับ | กลุ่ม Cluster หลัก | กลุ่ม Cluster ย่อย |
---|---|---|
1 | นวัตกรรมทางการเกษตรและอาหาร ( Agricultural and Food Innovations : AFI ) | AFI 4.9 อื่นๆ โรคพืชวิทยา และเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร |
ความเชี่ยวชาญ
ลำดับ | ชื่อความเชี่ยวชาญ |
---|---|
1 | โรคพืชวิทยา (Plant Pathology) |
2 | ชีววิทยาหลังการเก็บเกี่ยว (Postharvest Biology) |
3 | สารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช และการประเมินความเสี่ยงในการต้านทาน (Fungicide Chemicals and Resistance Risk Assessement) |
4 | สรีรวิทยาและอณูชีวโมเลกุลด้านเชื้อรา (Physiological and Molecular Technology of Phytopathogenic Fungi) |
5 | การใช้ประโยชน์จากจุลินทรีย์เพื่อการเกษตร (Microbial Application for Agriculture) |
บทความวิจัย/บทความวิชาการ
ลำดับ | ชื่อบทความวิจัย/บทความวิชาการ | Link |
---|---|---|
1 |
Pongpisutta, R., Keawmanee, P., Sanguansub, S., Dokchan, P., Bincader, S., Phuntumart, V., & Rattanakreetakul, C. (2023). Comprehensive Investigation of Die-Back Disease Caused by Fusarium in Durian. Plants 12(17): 3045.
ผู้ร่วมประพันธ์ (Co Author) |
https://doi.org/10.3390/plants12173045 |
2 |
Neang, S., Bincader, S., Rangsuwan, S., Keawmanee, P., Rin, S., Salaipeth, L., Das, S., Kondo H., Suzuki, N., Sato, I., Takemoto, D., Rattanakreetakul, C., Pongpisutta, R., Arakawa M., & Chiba, S. (2021). Omnipresence of Partitiviruses in Rice Aggregate Sheath Spot Symptom-Associated Fungal Isolates from Paddies in Thailand. Viruses. 13(11): 2269.
ผู้ร่วมประพันธ์ (Co Author) |
https://doi.org/10.3390/v13112269 |
3 |
Rattanakreetakul, C., Keawmanee, P., Bincader, S., Mongkolporn, O., Phuntumart, V., Chiba, S., & Pongpisutta, R. (2023). Two Newly Identified Colletotrichum species Associated with Mango Anthracnose in Central Thailand. Plants. 12(5): 1130.
ผู้ร่วมประพันธ์ (Co Author) |
https://doi.org/10.3390/plants12051130 |
4 |
ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล, สัณฐิติ บินคาเดอร์, รัติยา พงศ์พิสุทธา, อลงกรณ์ ณ ตะกั่วทุ่ง, และทิพย์วรา เทียนสว่าง. (2566). เชื้อรา Colletotrichum species; สาเหตุความผิดปกติของต้นเงินไหลมา (Syngonium podophyllum Schott) และศักยภาพของสารเคมีในการควบคุม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 6 “การขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างสรรค์โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” (น. 76-77) พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
ผู้ประพันธ์บรรณกิจ (Correspnding Author) |
https://drive.google.com/file/d/1JLlMnoO0VkFqauE73l-hZ1q73cWWYzZP/view |
5 |
รัติยา พงศ์พิสุทธา, สัณฐิติ บินคาเดอร์, ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล, ศิโรรัตน์ เขียนแม้น, ทิพย์วรา เทียนสว่าง, ธนวรรณ พรมขลิบนิล, และอรุณี คงสอน. (2566). โรคใบจุดของผักกาดคอส (Lactura sativa var. longifolia) และศักยภาพของสารเคมีเพื่อป้องกันการตกค้างของเชื้อราในระบบการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 6 “การขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างสรรค์โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” (น. 360-369) พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
ผู้ประพันธ์บรรณกิจ (Correspnding Author) |
https://drive.google.com/file/d/1BpkcKVJGDUkdGzeCXvNBiPvLWwgLOQSK/view |
6 |
กัญญาณัฐ คูณค้ำ, ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล, รัติยา พงศ์พิสุทธา, พิสุทธิ์ เขียวมณี, สรรเสริญ รังสุวรรณ, และสัณฐิติ บินคาเดอร์. (2566). การใช้ Gas chromatography mass spectrometry (GC-MS) เพื่อตรวจสอบชนิดสารทุติยภูมิในต้นกล้าพริกที่ถูกกระตุ้นด้วยเชื้อ Bacillus subtilis B01. วารสารแก่นเกษตร. 51(3): 415-430.
ผู้ร่วมประพันธ์ (Co Author) |
https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agkasetkaj/article/view/257313 |
7 |
พิสุทธิ์ เขียวมณี, ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล, รัติยา พงศ์พิสุทธา, และสัณฐิติ บินคาเดอร์. 2567. การกระจายตัวของน้ำมันหอมระเหยกานพลูในสภาพปิดเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการโรคหลังการเก็บเกี่ยว. วารสารวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมการเกษตร. 55: 1(พิเศษ): 172-175.
ผู้ร่วมประพันธ์ (Co Author) |
https://www.phtnet.org/download/phtic-seminar/2082.pdf |
8 |
รัติยา พงศ์พิสุทธา, สัณฐิติ บินคาเดอร์, ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล, อาภัสรา หีดรอด, ธนวรรณ พรมขลิบนิล, และศิโรรัตน์ เขียนแม้น. 2567. การจัดการโรคดอกสนิมของกล้วยไม้ที่เกิดจากเชื้อรา Curvularia eragrostidis โดยใช้สารเคมีเพื่อลดการก่อโรคหลังการเก็บเกี่ยว. วารสารวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมการเกษตร. 55: 1(พิเศษ): 88-91.
ผู้ประพันธ์บรรณกิจ (Correspnding Author) |
https://www.phtnet.org/download/phtic-seminar/2062.pdf |
9 |
รัติยา พงศ์พิสุทธา, ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล, สัณฐิติ บินคาเดอร์, กนกพร ฉัตรไชยศิริ, และพัชรี บุญเรืองรอด. 2563. การตรวจสอบเชื้อราสาเหตุของโรคกิ่งแห้งของทุเรียน. แก่นเกษตร 48(4): 703-714.
ผู้ร่วมประพันธ์ (Co Author) |
https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agkasetkaj/article/view/251279 |
10 |
สัณฐิติ บินคาเดอร์, รัติยา พงศ์พิสุทธา, ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล, พิสุทธิ์ เขียวมณี, ทิพย์วรา เทียนสว่าง, และอลงกรณ์ ณ ตะกั่วทุ่ง. 2567. การติดตามเชื้อราเข้าทําลายแฝงของต้นเงินไหลมา และการชะลอการเกิดโรคโดยใช้สารเคมี. วารสารวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมการเกษตร. 55: 1(พิเศษ): 84-87.
ผู้ประพันธ์อันดับแรก (First Author) |
https://www.phtnet.org/download/phtic-seminar/2061.pdf |
11 |
พิสุทธิ์ เขียวมณี, สัณฐิติ บินคาเดอร์, รัติยา พงศ์พิสุทธา, และชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล. 2567. ศักยภาพของการรมด้วยน้ำมันหอมระเหยต่อการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคพืชหลังการเก็บเกี่ยว. วารสารวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมการเกษตร. 55: 1(พิเศษ): 168-171.
ผู้ร่วมประพันธ์ (Co Author) |
https://www.phtnet.org/download/phtic-seminar/2081.pdf |
12 |
สัณฐิติ บินคาเดอร์, รัติยา พงศ์พิสุทธา, ธนวรรณ พรมขลิบนิล, ทิพย์วรา เทียนสว่าง, พิสุทธิ์ เขียวมณี, และชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล. 2567. ความแปรปรวนของยีนตรวจจับเอทิลีนในเชื้อราสกุล Colletotrichum สาเหตุโรคหลังการเก็บเกี่ยว. วารสารวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมการเกษตร 55: 2(พิเศษ): 106 - 109.
ผู้ประพันธ์อันดับแรก (First Author) |
https://www.phtnet.org/download/phtic-seminar/2117.pdf |
13 |
อลงกรณ์ ณ ตะกั่วทุ่ง, ศิโรรัตน์ เขียนแม้น, ชลลดา ทรงนิรันดร, ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล, และสัณฐิติ บินคาเดอร์. 2567. การคงสภาพและชะลอการเสื่อมของไม้ตัดใบซานาดู (Thaumatophyllum xanadu). วารสารวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมการเกษตร 55: 2(พิเศษ): 81-84.
ผู้ประพันธ์บรรณกิจ (Correspnding Author) |
https://www.phtnet.org/download/phtic-seminar/2111.pdf |
14 |
ชาญณรงค์ ศรีทรงเมือง, สัณฐิติ บินคาเดอร์, และทิพย์วรา เทียนสว่าง. 2566. การเพาะเลี้ยงจิ้งหรีดโดยใช้สูตรอาหารเลี้ยงไก่เป็นสารตั้งต้น. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 6 “การขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสร้างสรรค์โมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” (น. 360-369) พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
ผู้ร่วมประพันธ์ (Co Author) |
https://drive.google.com/file/d/1JLlMnoO0VkFqauE73l-hZ1q73cWWYzZP/view |
15 |
Bincader, S., Pongpisutta, R., and Rattanakreetakul. 2020. Diversity of Colletotrichum Species Causing Anthracnose Disease from Mango cv. Nam Dork Mai See Tong Based on ISSR-PCR. Indian Journal of Agricultural Research 56(1): 81-90.
ผู้ประพันธ์อันดับแรก (First Author) |
https://doi.org/10.18805/IJARe.AF-691 |
ความเชี่ยวชาญด้านบริการทางวิชาการ
ลำดับ | ชื่อเรื่อง/หัวข้อการให้บริการ | ประเภท | ระยะเวลา | หน่วยงาน/องค์กรที่รับบริการ |
---|
โครงการวิจัย
ลำดับ | ปีที่ได้รับทุน | ชื่อโครงการวิจัย |
---|---|---|
1 | 1 |
เชื้อรา Colletotrichum species; สาเหตุความผิดปกติของต้นเงินไหลมา (Syngonium podophyllum Schott) และศักยภาพของสารเคมีในการควบคุม. (ทุนวิจัยส่วนตัว)
หัวหน้าโครงการ |
2 | 1 |
การวินิจฉัยศัตรูพืชของผักเคลและฤทธิ์ทางชีวภาพของน้ำมันหอมระเหยในการประยุกต์ใช้เพื่อการควบคุมตามหลักเกษตรปลอดภัยภายใต้ระบบปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน. (กองทุนส่งเสริมงานวิจัย, สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ประเภททุนวิจัยระดับแนวหน้าของโลก (Frontier Research))
หัวหน้าโครงการ |
3 | 1 |
การคัดเลือกสายพันธุ์จุลินทรีย์โปรไบโอติกส์จากใบหม่อนเพื่อประโยชน์ในการควบคุม เชื้อสาเหตุโรคและกระตุ้นภูมิต้านทานโรคแฟลคเชอรี่ในหนอนไหม (Bombyx mori L.). (แผนพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่ในประเด็นเป้าหมายยุทธศาสตร์ ววน. ด้านสัตว์เศรษฐกิจ ประจำปีงบประมาณ 2567,สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.))
หัวหน้าโครงการ |
4 | 1 |
การสำรวจแมลงศัตรูนาข้าวและความสัมพันธ์ระหว่างความสูงของต้น และปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อแมลงที่พบ. (ทุนวิจัยส่วนตัว)
ผู้ร่วมวิจัย |
5 | 1 |
การวิจัยความสัมพันธ์ของสูตรอาหารเลี้ยงสัตว์ที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของจิ้งหรีด. (กองทุนส่งเสริมงานวิจัย, สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ประเภททุนนักวิจัยรุ่นใหม่)
ผู้ร่วมวิจัย |
6 | 2 |
โรคกิ่งแห้งของทุเรียน: ความสัมพันธ์ของเชื้อรา Fusarium spp. กับ Nectria spp. และปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดของโรค. (สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.))
ผู้ร่วมวิจัย |
7 | 2 |
โรคกิ่งแห้งของทุเรียนสาเหตุจากเชื้อรา Fusarium spp. : การระบาด และ การควบคุมโรค. (สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (สวก.))
ผู้ร่วมวิจัย |
8 | 2 |
การติดตามสภาพการโรคเพื่อพัฒนาระบบการจัดการโรคและเชื้อสาเหตุของทุเรียนในภาคตะวันออกและภาคใต้ของประเทศไทย. (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.))
ผู้ร่วมวิจัย |
9 | 3 |
การตรวจสอบความต้านทานที่เกิดจากการกลายพันธุ์ต่อสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อราของ Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรคโนสมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง. (ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว, สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา)
ผู้ร่วมวิจัย |
10 | 2 |
การคัดเลือก mycoviruses ที่มีศักยภาพในการควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum และ Fusarium species. (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โครงการ Japan Society for the Promotion of Science)
ผู้ร่วมวิจัย |
11 | 1 |
โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลโรคสำคัญบนใบของไม้ยูคาลิปตัส. (บริษัท ยูคาลิปตัส เทคโนโลยีจำกัด ร่วมกับ โปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (ITAP) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.))
ผู้ร่วมวิจัย |
12 | 1 |
การทดสอบพันธุ์ต้านทานโรคใบจุดด่างเหลืองที่เกิดจากเชื้อรา Phaeophleospora destructans ของยูคาลิปตัส. (สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และ บริษัท แอ๊ดวานซ์อาเชี่ยน จำกัด)
ผู้ร่วมวิจัย |
ทรัพสินทางปัญญา
ลำดับ | ประเภท | เลขที่ | ชื่อผลงาน | วันที่ยื่นคำขอ/วันที่จดทะเบียน |
---|---|---|---|---|
1 | อนุสิทธิบัตร | 1703001724 | สูตรผสมสำหรับผลิตภัณฑ์สารสกัดสมุนไพรชนิดสารเข้มข้นแขวนลอย และกรรมวิธีการผลิต | 2017-07-06 |