E-Profile

นายนฤพล อ่อนวิมล

นายนฤพล อ่อนวิมล

ข้อมูลสังกัด

  • ตำแหน่ง : อาจารย์
  • สังกัด : บริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ / สาขาวิชาการบัญชี /
  • ศูนย์พื้นที่ : สุพรรณบุรี

ข้อมูลติดต่อ

Email องค์กร : naruphon.o@rmutsb.ac.th
Email ส่วนตัว : -
เบอร์โทรศัพท์ : -

กลุ่ม Cluster ความเชี่ยวชาญ
ลำดับ กลุ่ม Cluster หลัก กลุ่ม Cluster ย่อย

ความเชี่ยวชาญ
ลำดับ ชื่อความเชี่ยวชาญ
1 ผู้ทำบัญชีอิสระ

บทความวิจัย/บทความวิชาการ
ลำดับ ชื่อบทความวิจัย/บทความวิชาการ Link

ความเชี่ยวชาญด้านบริการทางวิชาการ
ลำดับ ชื่อเรื่อง/หัวข้อการให้บริการ ประเภท ระยะเวลา หน่วยงาน/องค์กรที่รับบริการ

โครงการวิจัย
ลำดับ ปีที่ได้รับทุน ชื่อโครงการวิจัย
1 ต้นทุนและผลตอบแทนในการลงทุนปลูกข้าวหอมมะลิของเกษตรกร อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
ผู้ร่วมวิจัย
2 ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ของกลุ่มอุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคบริโภค หมวดแฟชั่น
หัวหน้าโครงการวิจัย
3 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าธรรมเนียมการตรวจสอบกับคุณภาพการตรวจสอบ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ผู้ร่วมวิจัย
4 สมรรถนะทางการบัญชีสมัยใหม่ที่มีผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานของผู้ทำบัญชีในพื้นที่จังหวัดสุพรรณบุรี
ผู้ร่วมวิจัย
5 พิธาน แสนภักดี,สุรชัย เอมอักษร,นฤพล อ่อนวิมล.(2566).อิทธิพลของการกำกับดูแลกิจการที่มีต่อต้นทุนเงินทุนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม โรงเรียนพระปริยัติธรรมสามัญวัดสระเรียง จังหวัดนครศรีธรรมราช.
ผู้ร่วมวิจัย
6 นฤพล อ่อนวิมล, พิธาน แสนภักดี.(2566).ผลกระทบประสิทธิภาพของคณะกรรมการและกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีต่อต้นทุนของหนี้ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช.
หัวหน้าโครงการวิจัย
7 นภัสวรรณ กังผึ้ง, นภัสวรรณ แก้วสุก, บุญญฤทธิ์ ช้ำเกตุ, พรทิพย์ นาคเสนีย์, พัชรินทร์ พิมสุวรรณ์, ดารารัตน์ โพธิ์ประจักษ์, กุลประภัสสร์ สุขีโรจน์ และนฤพล อ่อนวิมล, (2565). อัตราส่วนทางการเงินที่บ่งชี้โอกาสในการล้มละลายของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.ไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8. การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม (NCTIM 2022).มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
ผู้ร่วมวิจัย
8 จักรกฤษณ์ มะโหฬาร, และนฤพล อ่อนวิมล. (2562). ความคิดเห็นของประชาชนในเขตตำบลย่านยาว อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี ที่มีต่อการชำระเงินผ่านระบบอี-เพย์เม้นท์ (e-Payment). ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ครั้งที่ 1 (น. 548-560). กาฬสินธุ์: มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์.
ผู้ร่วมวิจัย

ทรัพสินทางปัญญา
ลำดับ ประเภท เลขที่ ชื่อผลงาน วันที่ยื่นคำขอ/วันที่จดทะเบียน